Launch event: Do You Know Who Made It? (งานเปิดตัวอีเว้นท์ “รู้มั้ยใครทำ?”)

Essential details:

  • Where: Central Court, CentralWorld, Bangkok. 
  • When: Tuesday 27 March 2018, 16:00 - 18:30.

Have you ever thought about how clothes or mobiles phones are made? The journey that food takes from the farm to your plate? Or even how the people who make these products are treated?

For the first time ever, IOM X, the International Organization for Migration (IOM - UN Migration Agency) and the United States Agency for International Development’s (USAID) campaign to prevent human trafficking and exploitation, has partnered with a group of Thailand’s top YouTube Creators. 

The result is “Do you know who made it?” — an online video series that aims to shine a much-needed spotlight on the bleak reality of today’s manufacturing industry.

Join this event and you can meet: 

These incredible YouTube Creators will come together for this event, meet fans and share why they chose to participate in this exciting project.

==============

  • Where: Central Court, CentralWorld, Bangkok. 
  • When: Tuesday 27 March 2018, 16:00 - 18:30.

คุณเคยถามตัวเองบ้างไหมว่าเสื้อผ้า หรือโทรศัพท์มือถือที่คุณใช้อยู่มีขั้นตอนการผลิตแบบไหน อาหารจากฟาร์มที่เสริฟลงบนจานอาหารของคุณมีที่มาอย่างไร หรือแม้กระทั่งแรงงานที่ใช้ในการผลิตสินค้าต่างๆ คุณคิดว่าพวกเขาได้รับการปฏิบัติ และมีความเป็นอยู่อย่างไรบ้าง

เป็นครั้งแรกที่ องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (IOM – องค์กรภายใต้ UN Migration Agency) ,องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID) และกลุ่ม YouTuber ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย ได้มาร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านการใช้แรงงานผิดกฏหมาย และการเอารัดเอาเปรียบแรงงานในอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ

ผลลัพท์ที่ได้จากการรวมตัวกันครั้งนี้คือ ซีรีย์วิดีโอ ออนไลน์ในหัวข้อ “รู้มั้ยใครทำ” ที่มีเป้าหมายเพื่อจุดประเด็นให้สังคมได้รับรู้ถึงความโหดร้ายของการใช้แรงงานผิดกฏหมายในอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าในปัจจุบัน

ไปร่วมงานอีเว้นท์นี้แล้วคุณจะได้พบกับ:

เหล่าเซเลบ YouTuber คนดังของไทยที่จะมารวมตัวกันเพื่อพบปะแฟนคลับในงานนี้ มาร่วมแบ่งปันเหตุผลที่คุณมาเข้าร่วมโครงการนี้

6 ways to support the people behind the products

When we buy cheap or fast fashion, we risk supporting exploitation and abuse. But it doesn’t have to be that way.

Purchases we make every day have an impact on the lives of people around the globe. In a world where products are mass-produced for millions of people around the world, the choice of which t-shirt we buy could mean a massive of difference for a garment factory worker on minimum wage.

Here’s the truth: when we buy cheap or fast fashion, we risk supporting exploitation and abuse.

But if we choose wisely, we can make sure our money isn’t supporting a cycle of abuse that harms factory workers through overworking and underpaying.

Luckily, it’s easy to take steps to make the purchasing decisions you make more ethical:

1. Read the label to find out where items are made

Manufacturers of clothes and other products are usually required to attach a “made in” label. Products are often made overseas in order to access cheap labour — but conditions can be unacceptably bad.

Some labourers work 60 hours a week without a day off, and are paid just US$2 per day. Reading the label can help you decide the true cost of a cheap shirt.

2. Organize a swap-meet for clothes in your local community

It’s fun and social, and helps you upgrade your wardrobe without spending a fortune. Plus you can get rid of your old stuff. If there isn’t one happening near you, get your friends and family together and do it yourself!

And while you’re there, start a conversation with your friends about how to support ethical shopping (scroll down for some ideas with our fact sheets).

3. Choose items that are repairable or long-lasting

Have you noticed how cheaply made, mass-produced clothes and products don’t last long? Or that it’s often cheaper to buy a whole new phone rather than fix it?

Where possible, you should invest in higher-quality products that last longer and are less likely to break.

4. Fix your items instead of replacing them

Nothing lasts forever. Gadgets and clothes included. While it’s always quicker and often cheaper, to replace an item outright, buying new can mean perpetuating a cycle of fast manufacturing and supporting poor labour standards.

5. Seek out second-hand stores and thrift markets

Vintage items and clothes are getting more and more popular. Luckily, local markets across Bangkok and the rest of Thailand often have second-hand and vintage sections.

And buying genuine vintage items means you’re recycling old clothes without perpetuating a cycle of poor labour standards.

6. Have a conversation with your friends about shopping ethically

Manufacturers and brands can get away with treating workers badly because it happens behind closed doors. It’s happening far away from shopping malls, in factories far away or overseas, affecting people we’re never met.

You can help change this by starting a conversation with your friends and family about shopping ethically.

Use our resources here to get started:

  1. Fact sheet: human trafficking in the manufacturing industry (PDF)
  2. Video: this is forced labour
  3. Video: what is human trafficking?
  4. Video: How to make a t-shirt

6 ส่ิงที่จะสนับสนุนคนที่อยู่เบื้องหลังสินค้า

การซื้อสิ่งของ ของเราในทุกวัน มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในโลกนี้

การซื้อสิ่งของ ของเราในทุกวัน มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในโลกนี้

ในโลกที่มีการผลิตจำนวนมากสำหรับคนนับล้านบนโลกนี้ ตัวเลือกที่จะทำให้เราเลือกซื้อเสื้อสักตัว มันหมายถึง การจ่ายค่าแรงขั้นต่ำที่แตกต่างกันมากสำหรับแรงงานในโรงงานเสื้อ

มันคือเรื่องจริง เมื่อเราซื้อของถูก หรือ สินค้าออกใหม่ตลอดเวลา มันคือความเสี่ยงว่าเรากำลังสนับสนุนการหาประโยชน์หรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม

แต่ถ้าเราเลือกอย่างมีสติ เราจะมั่นใจได้ว่าเงินของเราไม่ได้ให้การสนับสนุนวงจรการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ที่เป็นการทำร้ายแรงงาน ไม่ว่าจะเป็นการทำงานที่หนักมาก และจ่ายค่าจ้างน้อยกว่าความเป็นจริง

มันโชคดีมาก ที่เรามีขั้นตอนที่ง่ายมากในการตัดสินใจซื้อของเพื่อให้เป็นไปตามหลักจริยธรรม

1. อ่านฉลากสินค้าเพื่อดูว่ามันผลิตจากที่ไหน

โรงงานเสื้อหรือ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ มักติดฉลากสินค้าไว้เสมอ ว่าผลิตจากที่ใด ผลิตภัณฑ์ มักผลิตจากที่ที่สามารถหาแรงงานราคาถูกได้ แต่เงื่อนไขนี้เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้อย่างร้ายกาจ

แรงงานต้องทำงาน 60 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยไม่มีวันหยุด เพื่อได้รับค่าจ้างเพียง 2 ดอลล่าห์ต่อวัน การอ่านฉลากสินค้า มันสามารถช่วยคุณคิดถึงต้นทุนที่แท้จริงของเสื้อราคาถูก

2. แลกเปลี่ยนเสื้อผ้ากันในชุมชนของคุณ

มันเป็นเรื่องสนุกและได้พบปะผู้คน มันช่วยให้คุณจัดการตู้เสื้อผ้าโดยไม่สิ้นเปลือง อีกทั้งคุณสามารถจัดการของชิ้นเก่าของคุณ ถ้ากิจกรรมนี้ไม่ได้จัดใกล้ๆตัวคุณ บอกเพื่อนและครอบครัวของคุณมาจัดกิจกรรมนี้ด้วยตัวเอง

และเมื่อคุณอยู่ที่นั่น เริ่มพูดคุยกับเพื่อนของคุณ ว่าเราจะสนับสนุนจริยธรรมในการบริโภคได้อย่างไร (เลื่อนมาดูบางตัวอย่างได้ที่ข้อเท็จจริงของเรา)

3. เลือกสิ่งที่สามารถซ่อมแซมได้ หรือใช้ได้ยาวนาน

คุณเคยสังเกตไหม สินค้าและเสื้อผ้าราคาถูกจากการผลิตมาเป็นจำนวนมาก มักใช้ได้เพียงสั้นๆ หรือ มันถูกกว่าจริงหรือสำหรับการซื้อมือถือเครื่องใหม่ เทียบกับการซ่อมมัน

ถ้าเป็นไปได้ คุณควรลงทุนซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง สามารถใช้งานได้นานและไม่พังง่ายๆ

4. ซ่อมแซม แทนการซื้อใหม่

มันไม่มีอะไรยั่งยืน รวมไปถึงสินค้าเทคโนโลยีและเสื้อผ้า

ในขณะที่ความรวดเร็วและราคาที่ถูก มันเข้ามาแทนที่อย่างสมบูณณ์นั้น  การซื้อของชิ้นใหม่ นั่นหมายถึง วงจรของโรงงานและการสนับสนุนคุณภาพชีวิตแรงงานที่เลวร้ายจะคงอยู่อย่างถาวร

5. มองหาร้านสิ่งของมือสอง

สิ่งของและเสื้อผ้าย้อนยุคมักได้รับความนิยม โชคดีมาก ที่ตลาดทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัดมักมีสินค้ามือสอง หรือ ย้อนยุค

การซื้อของย้อนยุค มันหมายถึง เราช่วยนำเสื้อผ้าเก่ากลับมาใช้ใหม่ โดยไม่ผ่านวงจรมาตรฐานชีวิตแรงงานที่เลวร้าย

6. พูดคุยกับเพื่อนของคุณถึงจริยธรรมในการบริโภค

โรงงานหรือยี่ห้อที่ปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเลวร้ายไม่เคยโดนลงโทษ เพราะมันเกิดขึ้นอย่างลับๆ คุณสามารถช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเริ่มจากการคุยกับเพื่อน และ ครอบครัวของคุณถึงจริยธรรมการบริโภค

ใช้แหล่งข้อมูลของเราที่นี่ในการเริ่มต้น :

 

Migrant Voices: Domestic Workers’ Diaries

When we met with a group of domestic workers in Singapore, they wanted to share their advice for women back home thinking of seeking work abroad.

Every year, thousands of women leave their friends and loved ones at home in search of better work.

When we met with a group of domestic workers in Singapore, they wanted to share their achievements with us. They also wanted to send some advice for women back home thinking of seeking work abroad.

To help them do this, IOM X produced Migrant Voices, a series aimed to highlight and celebrate the strength and resilience of migrant workers everywhere.

Click play to hear more from these brave and resilient women.